การฟังเรื่องใด ๆ ก็ตาม
ผู้ฟังหรือผู้ดูจะต้องคิดพิจารณาไตร่ตรองให้ดีอย่างรอบคอบ
ด้วยการใช้ปัญญาความรู้ของตน หาเหตุผลประกอบการตัดสินใจ จะทำให้การตัดสินใจ
ถูกต้องหรือผิดพลาดน้อยที่สุด (อ่านเพิ่มเติม)
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การอ่านบทร้อยแก้ว
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง
การอ่านถ้อยคำที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่งเสียง
และวางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยม และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง
ซึ่งจะทำให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อยตามไปกับเรื่องราว หรือรสประพันธ์ที่อ่าน (อ่านเพิ่มเติม)
การอ่านบทร้อยกรอง
การอ่านออกเสียงร้อยกรอง
เป็นการอ่านที่มุ่งให้เกิดความเพลิดเพลินซาบซึ้งในรสของคำประพันธ์
ซึ่งจะต้องอ่านอย่างมีจังหวะ ลีลา และท่วงทำนองตามลักษณะคำประพันธ์เเต่ละชนิด (อ่านเพิ่มเติม)
การวิจักษ์วรรณคดี
คือการเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งจนตระหนักในคุณค่าของวรรณคดีเรื่องหนึ่งๆ
ว่าเป็นงานศิลปะที่ถึงพร้อมเพียงใด มีข้อดีเด่นอย่างไร มีข้อด้อยอย่างไร
มีข้อคิดที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงเพียงใด
เป็นต้น (อ่านเพิ่มเติม)
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน (อ่านเพิ่มเติม)
นิทานเวตาล เรื่องที่ 10
ดังนั้น พระเจ้าตริวกรมเสนจึงได้เสด็จกลับไปที่ต้นอโศกอีกครั้งหนึ่ง
เพื่อจับตัวเวตาล เมื่อจับได้แล้วก็ทรงเหวี่ยงขึ้นบนพระอังสา เสด็จมุ่งหน้าไปยังที่นัดพบกับโยคีโดยไม่ปริปากใด
ๆ เลย เวตาล (อ่านเพิ่มเติม)
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา ( อ่านเพิ่มเติม)
คำนมัสการอาจาริยคุณ
กล่าวแสดงขอความเคารพนอบน้อมต่อครู ผู้มีความกรุณา
เผื่อแผ่อบรมสั่งสอนศิษย์ทุกสิ่ง
ให้มีความรู้
ทั้งความดี ความชั่ว ชั่วขยายความให้เข้าใจแจ่มแจ้ง มีเมตตากรุณา กรุณาเที่ยงตรง
เคี่ยวเข็ญให้ฉลาดหลักแหลม (อ่านเพิ่มเติม)
คำนมัสการมาตาปิตุคุณ
บทกวีนี้ กล่าวนอบน้อมพระคุณของบิดามารดา
ผู้ได้เกื้อกูลมาตั้งแต่เล็กจนเติบโต คอยเฝ้าระวังรักษาประคับ
ประคองดูแลอยู่ไม่ยอมห่าง (อ่านเพิ่มเติม)
อิเหนา
เมื่อท้าวกะหมังกุหนิงเห็นน้องชายทั้งสองก็เรียกให้มาร่วมนั่งด้วยกัน
แล้วจึงไถ่ถามสารทุกข์สุขดิบกับเหล่าระตูเมืองเล็กๆ
พร้อมทั้งปรึกษาหารือเรื่องที่จะไปตีเมืองดาหา เหล่าระตูต่างๆก็ตอบรับด้วยดี
ยินดีที่จะไปออกรบด้วย ซึ่งเป็นที่พอใจแก่ท้าวกะหมังกุหนิงอย่างยิ่ง (อ่านเพิ่มเติม)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)